“SynBio Consortium 2024: Solutions for a Better Tomorrow”

🧬 เตรียมพบกับผู้เชี่ยวชาญระดับโลก ที่จะมาร่วมเสวนาและแชร์ประสบการณ์จากต่างประเทศ ในการประชุมประจำปีของภาคีเครือข่ายชีววิทยาสังเคราะห์ “SynBio Consortium 2024: Solutions for a Better Tomorrow” (hourglass done) 11 พฤศจิกายน 2567 เวลา 8.30 – 16.30 น.(office) ณ โรงแรมพูลแมน บางกอกคิงพาวเวอร์ กรุงเทพ Key Highlights:()ความก้าวหน้าของภาคีเครือข่ายฯ ()อัพเดตแผนที่นำทางการพัฒนาระบบนิเวศส่งเสริม synthetic biology ของประเทศไทย()ความท้าทายและกฎระเบียบการปรับแต่งจีโนมส์พืช ()บริหารจัดการ R&D คอนซอร์เทียมอย่างไรให้งานวิจัยมุ่งสู่อุตสาหกรรม()ความรับผิดชอบและจริยธรรมการวิจัย ()ความสำคัญของมาตรฐานเชิงเทคนิค(*)โครงสร้างพื้นฐานและกำลังคน 🧬 กำหนดการhttps://www.nxpo.or.th/synbio2024_agenda 🧬 ลงทะเบียนได้ที่https://www.nxpo.or.th/synbio2024_register 🧬 ติดต่อสอบถาม[email protected]

MMS3 Talk ปี 2024 ครั้งที่ 5 หัวข้อเรื่อง “ เล่าประสบการณ์การขอทุน และการหาความร่วมมือกับต่างชาติ ”

📢📢 เชิญลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม MMS3 Talk ปี 2024 ครั้งที่ 5 หัวข้อเรื่อง “ เล่าประสบการณ์การขอทุน และการหาความร่วมมือกับต่างชาติ ” ใน วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน 2567 เวลา 12.30 – 14.30 น.ในงาน MMS3 Talk ครั้งนี้ ท่านจะได้เรียนรู้วิธีการขอทุนเพื่อพัฒนางานวิจัย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับนักวิจัยและสถาบันต่างชาติ เทคนิคและข้อแนะนำสำคัญในการขอทุนวิจัย การเตรียมตัวและการวางแผนเพื่อการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ รวมถึงข้อควรระวังและปัญหาที่อาจเจอในกระบวนการการขอทุน และการหาความร่วมมือกับต่างชาติ โดยวิทยากรทั้ง 5 ท่าน ดังนี้• ดร.ภัทราภรณ์ สุนทรสัจ (ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ)• รองศาสตราจารย์ ดร.ธนารัตน์ ชลิดาพงศ์ (ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์)• รองศาสตราจารย์ ดร.โศรดา กนกพานนท์ (ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์)• ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภัทรา วิเศษศรี (ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์)• อาจารย์ …

MMS3 Talk ปี 2024 ครั้งที่ 4 หัวข้อเรื่อง “AI กับการทำวิจัย – ทำอย่างไรให้เกิดประโยชน์ และข้อพึงระวังด้านจริยธรรม”

เชิญลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม MMS3 Talk ปี 2024 ครั้งที่ 4 หัวข้อเรื่อง “AI กับการทำวิจัย – ทำอย่างไรให้เกิดประโยชน์ และข้อพึงระวังด้านจริยธรรม” ใน วันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม 2567 เวลา 12.30 – 14.30 น. นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มานพ แก้วโมราเจริญ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ และศาสตราจารย์ ดร. ธีรยุทธ วิไลวัลย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในกิจกรรม MMS3 Talk ปี 2024 ครั้งที่ 4 หัวข้อเรื่อง “AI กับการทำวิจัย – ทำอย่างไรให้เกิดประโยชน์ และข้อพึงระวังด้านจริยธรรม” จะเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการนำ AI มาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความแม่นยำ พร้อมกับการอภิปรายเกี่ยวกับข้อพึงระวังด้าน จริยธรรม ที่นักวิจัยควรคำนึงถึงเมื่อใช้ …

UNESCO-Russia Mendeleev International Prize in the Basic Sciences

The UNESCO-Russia Mendeleev International Prize in the Basic Sciences was created to foster scientific progress, science popularization and international cooperation in the basic sciences. It also commemorates the remarkable scientific heritage of D. I. Mendeleev, father of the Periodic Table, who’s work played a fundamental role in the future of chemistry, physics, biology, astronomy and …

สัมมนาสรุปผลการดำเนินงานโครงการอุปกรณ์บันทึกข้อมูลเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง และโปรแกรมช่วยตัดสินใจในการจัดการโซ่ความเย็นเพื่อลดการใช้พลังงานและความสูญเสีย

การประชุมสัมมนา “The Future of Transportation Systems”

ในปัจจุบัน ผู้บริโภคมีทางเลือกในการใช้รถยนต์ที่หลากหลาย เช่น รถยนต์ไฟฟ้าไฮบริด (Hybrid Electric Vehicle: HEV) รถยนต์ไฟฟ้าไฮบริดปลั๊กอิน (Plug-in Hybrid Electric Vehicle: PHEV) รถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle: BEV) รวมไปถึงรถยนต์ไฟฟ้าแบบเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicle: FCEV) ที่ใช้ก๊าซไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงในการขับเคลื่อน ปัจจัยสำคัญที่ขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนายานพาหนะที่ใช้พลังงานที่ไม่ได้มาจากฟอสซิล คือ ปริมาณเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ลดน้อยลงไปทุกวัน และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม องค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการพัฒนายานพาหนะที่หลากหลาย และการใช้พลังงานขับเคลื่อนในรูปแบบต่าง ๆ เป็นสิ่งที่น่าทำความเข้าใจและจับตามองเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นเรื่องที่จะมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของสังคมและเศรษฐกิจอย่างกว้างขวางมูลนิธิบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (บวท.) และศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (ENTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ร่วมกันจัดการประชุมสัมมนา “Future Transportation System” เพื่อให้ทราบถึงระดับการพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงานและยานพาหนะที่ใช้ในระบบการเดินทางและขนส่งในปัจจุบันและแนวโน้มเทคโนโลยีทางด้านนี้ในอนาคตอีกทั้งนโยบายการสนับสนุนระบบการขนส่งของภาครัฐ สำหรับบุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งจากภาครัฐและเอกชน และประชาชนทั่วไปเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจต่อเทคโนโลยีของการผลิตลังงาน การพัฒนายานพาหนะ และระบบการขนส่งของประเทศ ท่านสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้ที่ https://forms.gle/xQa2KCLqo6bTw14C8 ภาพงานสัมมนา

Floods in Asia: 2nd Annual Ramanathan Climate Conversation

The U.S. National Academies invites you to a discussion about how to reduce the impact of climate-worsened floods in Asia. As seas rise and rain becomes more intense, flooding is becoming an even more serious challenge around the world, including in Asia, where Pakistan, India, China, Indonesia and other countries have all experienced intense floods …

Call for applications of the AAAS-TWAS Course on Science Diplomacy

The American Association for the Advancement of Science (AAAS), Washington, DC, USA, and The World Academy of Sciences for the advancement of science in developing countries (TWAS), Trieste, Italy, are seeking candidates for the AAAS-TWAS Course on Science Diplomacy to be held from 19 June to 23 June 2023 in person in Trieste, Italy. The …

Impact of climate change on food systems – side event at the FAO Science & Innovation Forum on 13 October, 2-4 PM CEST

A recent systems-based approach to tackling climate change and health issues, from the global InterAcademy Partnership and its regional academy networks, examined how science can guide innovation, policy and practice for climate mitigation and adaptation. Among adverse climate change effects are those mediated by multiple impacts on food production and, consequently, on health and livelihoods. …